หมายเหตุประกอบงบการเงินประจำไตรมาส 1/2543
เงินกู้ยืมระยะยาว 180 35,615,000 1,352,045,122 35,615,000 1,352,045,122
เงินกู้ยืมระยะสั้นจาก
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 2,859,097 108,539,320 - -
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2542:
เงื่อนไขการรับ/ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท
จ่ายชำระ จำนวนเงิน จำนวนเงิน
วัน ดอลลาร์สหรัฐ บาท ดอลลาร์สหรัฐ บาท
เงินฝากธนาคาร - 28,376 1,059,239 22,921 855,605
ลูกหนี้การค้าต่างประเทศ 15 2,103,055 78,503,883 2,103,055 78,503,883
ทรัสต์รีซีท 90-120 5,703,417 215,074,720 5,703,417 215,074,720
เจ้าหนี้การค้า 30-60 3,710,647 139,927,750 3,710,647 139,927,750
ดอกเบี้ยค้างจ่าย 90 985,237 37,153,126 186,567 7,035,422
เงินกู้ยืมระยะยาว 180 40,115,000 1,512,728,627 40,115,000 1,512,728,627
เงินกู้ยืมระยะสั้นจาก
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 2,859,097 107,815,968 - -
…/14
- 14 -
จำนวนเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศได้ถูกแปลงค่าเป็นเงินบาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนตามอัตราอ้างอิงของธนาคารแห่งประเทศไทย
ณ วันที่ 31 มีนาคม 2543 และวันที่ 31 ธันวาคม 2542 ตามลำดับ
11.2 การบริหารความเสี่ยง
นโยบายบริหารความเสี่ยงของบริษัทสำหรับเงินกู้ยืมที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ได้แก่ การซื้อตราสารทางการเงินในตลาดทางการเงิน
เพื่อป้องกันความเสี่ยง โดยบริษัทได้ทำสัญญาซื้อเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าในจำนวนที่สามารถป้องกันภาระผูกพันที่เป็นเงินตราต่า
งประเทศ
บริษัทมีการขายสินค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศเป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ จึงทำให้บริษัทมีรายได้และลูกหนี้เป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ
ในขณะเดียวกันบริษัทมีเจ้าหนี้การค้า ภาระเงินกู้ และดอกเบี้ยที่เป็นสกุลเงินเดียวกัน ซึ่งบริษัทสามารถบริหารความเสี่ยงสำหรับอัตราแลก
เปลี่ยนโดยใช้วิธีการจับคู่ (Matching) รายได้ที่ได้มากับภาระเงินกู้และดอกเบี้ยที่เป็นเงินตราต่างประเทศ
11.3 ราคายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน
ราคายุติธรรมของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด และรายการสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตราสารทางการเงินที่ไม่มีดอกเบี้ยจะมีราคา
เท่ากับราคาตามบัญชี
ราคายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินอื่น แสดงในราคาตลาด
หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดแสดงโดยใช้ราคาตลาดที่สามารถอ้างอิงได้ โดยใช้วันที่เดียวกับงบการเงิน สำหรับหลักทรัพย์ที่ไม่อยู่ใน
ความต้องการตลาดแสดงในราคายุติธรรมสุทธิ ซึ่งประเมินโดยกรรมการโดยพิจารณาจากสินทรัพย์สุทธิ ความสามารถในการทำกำไรในอนา
คตและสภาพการณ์โดยเฉพาะในการลงทุนในบริษัทนั้น
11.4 ความเสี่ยงในการให้สินเชื่อ
ความเสี่ยงในการให้สินเชื่อได้แก่การที่คู่สัญญาผิดเงื่อนไขตามสัญญา ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลขาดทุน แก่บริษัทได้
…/15
- 15 -
บริษัทมีนโยบายการบริหารความเสี่ยงโดยการเรียกหลักประกันจากลูกค้าก่อนทำการขายสินค้า ซึ่งหลักประกันอาจเป็นการค้ำประกันโดยธนาคาร หรือเงินสด
ในด้านของการรับรู้สินทรัพย์ทางการเงิน มูลค่าของสินทรัพย์ที่บันทึกในงบดุลรวม ส่วนหนึ่งของค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ แสดงในมูลค่าที่มีความเสี่ยงสูงสุดในการ
ให้สินเชื่อ
11.5 ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ย
ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยในงบดุลเกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ย ซึ่งอาจส่งผลต่อกำไรของบริษัทในวันสิ้นงวดและปีต่อไป
12. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
12.1 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2543 และ 31 ธันวาคม 2542 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งซึ่งทำธุรกิจเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ มีภาระผูกพันตามสัญญาร่วมดำเนินงาน
โครงการนิคมอุตสาหกรรมผาแดง ดังนี้
ค่าดำเนินการให้ความสะดวกและบริการสนับสนุนต่อการดำเนินกิจการเป็นเงิน 567,525 บาท ต่อปี และเพิ่มขึ้นทุก 5 ปีในอัตราร้อยละห้าของอัตราในช่วง
ระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 กันยายน 2535 รวมทั้งผลประโยชน์ตอบแทนต่อการใช้พื้นที่ที่ท่าเทียบเรือตามที่กำหนดในสัญญา
12.2 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2543 และ 31 ธันวาคม 2542 บริษัทและบริษัทย่อยมีภาระหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น จากการให้ธนาคารค้ำประกันเป็นเงินประมาณ
85.58 ล้านบาท และ 84.61 ล้านบาท ตามลำดับ
12.3 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2543 และ 31 ธันวาคม 2542 บริษัทมีเลตเตอร์ออฟเครดิตที่ยังไม่ได้ใช้เป็นจำนวนเงินประมาณ 68.32 ล้านบาท และ
234.79 ล้านบาท ตามลำดับ
12.4 ในเดือนธันวาคม 2538 บริษัทได้รับหนังสือแจ้งการประเมินภาษีเงินได้นิติบุคคลจากกรมสรรพากร เป็นเงินค่าภาษีเงินได้นิติบุคคล เบี้ยปรับและเงิน
เพิ่มรวมทั้งหมดจำนวนประมาณ 31.72 ล้านบาท ซึ่งในเดือนกุมภาพันธ์ 2539 บริษัทได้ยื่นอุทธรณ์ให้ยกเลิกการประเมินภาษีเงินได้นิติบุคคล งดและลดเบี้ยปรับ
เงินเพิ่มดังกล่าว
…/16
- 16 -
ในเดือนพฤศจิกายน 2542 บริษัทได้รับหนังสือจากคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ให้ลดเบี้ยปรับ เรียกเก็บจำนวน 6.43 ล้านบาท คงเหลือเรียกเก็บเป็นเงิน
ภาษีเงินได้นิติบุคคล เบี้ยปรับ เงินเพิ่มรวมทั้งสิ้น 25.29 ล้านบาท แต่เมื่อคำนวณเงินเพิ่มจนถึง 31 ธันวาคม 2542 บริษัทต้องเสียเงินภาษีเงินได้นิติบุคคล
เบี้ยปรับ และเงินเพิ่มรวมทั้งสิ้น 32.17 ล้านบาท
ในเดือนธันวาคม 2542 บริษัทได้อุทธรณ์คำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ดังกล่าวต่อศาลภาษีอากรกลาง
ณ วันที่ 31 มีนาคม 2543 ผลการยื่นอุทธรณ์ดังกล่าวยังไม่มีข้อยุติ บริษัทยังไม่มีการตั้งสำรองเผื่อหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นไว้ในงบการเงินระหว่างกาล
12.5 ภาระผูกพันด้านรายจ่ายลงทุน
บริษัทมีสัญญาผูกพันเกี่ยวกับการได้มาของโรงงานและอุปกรณ์ ณ วันที่รายงานและไม่ได้บันทึกเป็นหนี้สินหรือเจ้าหนี้ของบริษัทดังนี้
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท
31 มีนาคม 2543 31 ธันวาคม 2542 31 มีนาคม 2543 31 ธันวาคม 2542
บาท บาท บาท บาท
ส่วนที่ไม่เกิน 1 ปี 19,931,298 7,980,650 19,931,298 7,980,650
ส่วนที่เกินกว่า 1 ปี - - - -
19,931,298 7,980,650 19,931,298 7,980,650
12.6 ภาระผูกพันทางด้านการซื้อ
บริษัทมีภาระผูกพันในการทำสัญญาซื้อวัตถุดิบ ณ วันที่รายงานและไม่ได้บันทึกเป็นหนี้สินหรือ
เจ้าหนี้ ดังนี้
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท
31 มีนาคม 2543 31 ธันวาคม 2542 31 มีนาคม 2543 31 ธันวาคม 2542
บาท บาท บาท บาท
ส่วนที่ไม่เกิน 1 ปี 91,195,700 2,543,729 91,195,700 2,543,729
ส่วนที่เกินกว่า 1 ปี - - - -
91,195,700 2,543,729 91,195,700 2,543,729
…/17
- 17 -
13. ข้อผูกพันตามสัญญากับส่วนราชการ
บริษัทมีข้อผูกพันบางประการตามสัญญาเกี่ยวกับการทำเหมืองและการก่อสร้างโรงถลุงแร่สังกะสีที่ทำกับส่วนราชการ ซึ่งรวมถึงข้อกำหนดการจำหน่าย
โลหะสังกะสีและโลหะสังกะสีผสมรวมทั้งการจ่ายผลประโยชน์และเงินโบนัสพิเศษ
14. รายการระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
รายการระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกันที่ต้องเปิดเผยตามข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่องหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการจัดทำและส่ง
งบการเงิน และรายงานเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนมีดังต่อไปนี้
รายการที่สำคัญระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ประกอบด้วย
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท
31 มีนาคม 2543 31 ธันวาคม 2542 31 มีนาคม 2543 31 ธันวาคม 2542
บาท บาท บาท บาท
ลูกหนี้การค้า (ดู* 1) - - 48,736,288 48,216,841
เงินให้กู้ยืมและเงินทดรองจ่ายแก่
บริษัทย่อยและบริษัทร่วม-หมุนเวียน 911,311 693,346 1,837,469 1,620,430
เงินให้กู้ยืมและเงินทดรองแก่บริษัทย่อย
แห่งหนึ่ง-ไม่หมุนเวียน (ดู* 5) - - 1,300,243,431 1,291,243,431
เงินลงทุน - - 371,337,052 372,035,797
เจ้าหนี้การค้า (ดู*4) - - 86,064,150 86,077,196
ดอกเบี้ยค้างจ่าย (ดู*2) - - 986 17,324
เงินกู้ยืมจากบริษัทร่วม-หมุนเวียน 108,539,320 107,815,968 - -
เงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย
แห่งหนึ่ง-ไม่หมุนเวียน (ดู* 2) - - 9,000,000 9,879,959
…/18
- 18 -
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท
สำหรับไตรมาสสิ้นสุด สำหรับไตรมาสสิ้นสุด
วันที่ 31 มีนาคม วันที่ 31 มีนาคม
2543 2542 2543 2542
บาท บาท บาท บาท
ขายสินค้า (ดู* 3 ) - - 2,606,528 300,208
ดอกเบี้ยจ่าย (ดู* 2) - - 98,597 3,097,896
* 1. ณ วันที่ 31 มีนาคม 2543 และวันที่ 31 ธันวาคม 2542 บริษัทมีลูกหนี้การค้าของกิจการที่เกี่ยวข้องกันที่มีปัญหาในการ ชำระหนี้จำนวน 46.81
ล้านบาท (ดูหมายเหตุข้อ 5)
* 2. ณ วันที่ 31 มีนาคม 2543 และวันที่ 31 ธันวาคม 2542 บริษัทมีเงินกู้ยืมในรูปตั๋วสัญญาใช้เงินจากบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นตั๋วเมื่อทวงถามและ
มีกำหนดระยะเวลา 3 เดือน (อัตราดอกเบี้ยสำหรับปี 2543 ร้อยละ 4 ต่อปี และสำหรับปี 2542 ร้อยละ 4-8.50 ต่อปี ไม่มีหลักประกัน)
*3. เป็นการขายสินค้าให้กับบริษัทย่อยตามราคาที่ตกลงกัน บริษัทไม่สามารถหาราคาตลาดมาเปรียบเทียบได้
*4. เป็นค่านายหน้าจากการที่บริษัทย่อยหาลูกค้าให้บริษัท โดยตกลงจ่ายค่าตอบแทนเท่ากับร้อยละ 1.5 ของยอดจำหน่ายโลหะ บริษัทไม่ได้ทำการต่อสัญญา
ค่านายหน้ากับบริษัทย่อยดังกล่าวตั้งแต่ปี 2541 บริษัทไม่มีข้อมูลของค่านายหน้าที่จ่ายกันในท้องตลาด
*5. ณ วันที่ 1 กันยายน 2541 บริษัทได้ทำสัญญาแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาเงินกู้กับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง เพื่อเปลี่ยนสกุลเงินกู้ยืมจากดอลลาร์สหรัฐจำนวน
14,614,412 ดอลลาร์สหรัฐ เป็นเงินบาท จำนวน 616,241,546 บาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนตามอัตราอ้างอิงของธนาคารแห่งประเทศไทย ณ วันที่ 31
สิงหาคม 2541 ในอัตราขาย 1 ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับ 42.1667 บาท และสัญญาดังกล่าวได้ระบุให้บริษัทหยุดคิดดอกเบี้ยของเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อยดังกล่าว
ข้างต้น ตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม 2541 เป็นต้นไป
ณ วันที่ 31 มีนาคม 2543 และวันที่ 31 ธันวาคม 2542 เงินให้กู้ยืมและเงินทดรองดังกล่าวแก่บริษัทย่อยมียอดคงเหลือประมาณ 1,300,243,431 บาท
(เงินต้น 1,095,281,806 บาท ดอกเบี้ยและค่าปรับจากการผิดสัญญา 204,961,625 บาท ) และ 1,291,243,431 บาท (เงินต้น 1,086,281,806
บาท ดอกเบี้ยและค่าปรับจากการผิดสัญญา 204,961,625 บาท) ตามลำดับ
…/19
- 19 -
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท
31 มีนาคม 2543 31 ธันวาคม 2542 31 มีนาคม 2543 31 ธันวาคม 2542
บาท บาท บาท บาท
เงินให้กู้ยืมและเงินทดรองจ่าย - - 1,300,243,431 1,291,243,431
หัก ขาดทุนเกินเงินลงทุน - -
ในบริษัทย่อย - - (1,300,243,431) (1,283,243,431)
เงินให้กู้ยืมและเงินทดรองจ่าย-สุทธิ - - - 8,000,000
บริษัทได้รับรู้ส่วนได้เสียในผลขาดทุนของบริษัทย่อยที่มีผลขาดทุนเกินทุนทั้งจำนวน โดยหักจาก เงินลงทุน ลูกหนี้ และ เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย
15. สัญญาร่วมดำเนินงาน
ในปี 2538 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งซึ่งทำธุรกิจเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ได้ขายที่ดินบางส่วนในนิคมอุตสาหกรรมผาแดงให้กับนิติบุคคลอื่นสองรายโดยมีผล
ขาดทุนจากการขาย ซึ่งการขายที่ดินดังกล่าวไม่เป็นไปตามเงื่อนไขในสัญญาร่วมดำเนินงานกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยเพื่อพัฒนาที่ดิน
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้เรียกค่าชดเชยความเสียหายเป็นจำนวน 30% ของกำไรจากการขายที่ดินดังกล่าว อย่างไรก็ตามบริษัท
ย่อยมีผลขาดทุนจากการที่ดินดังกล่าว และเชื่อว่าจะไม่มีภาระหนี้สินจากเรื่องดังกล่าว
16. หนี้สินที่เกิดจากการค้ำประกันบริษัทย่อย
ในปี 2542 บริษัท ผาแดง พุงซาน เมททัลส์ จำกัด ได้จ่ายชำระหนี้เงินให้กู้ยืมและดอกเบี้ยจ่ายบางส่วนแก่ธนาคารทำให้หนี้สินที่เกิดจากการค้ำ
ประกันบริษัทย่อยของบริษัท ผาแดง อินดัสทรี จำกัด (มหาชน) ลดลง บริษัทจึงได้รับรู้จำนวนดังกล่าวเป็นส่วนปรับปรุงการตั้งภาระหนี้จากการค้ำ
ประกันบริษัทย่อยภายใต้หัวข้อ "รายได้อื่น"
ณ วันที่ 31 มีนาคม 2543 และวันที่ 31 ธันวาคม 2542 หนี้สินที่เกิดจากการค้ำประกันบริษัทย่อย มีดังนี้
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท
31 มีนาคม 2543 31 ธันวาคม 2542 31 มีนาคม 2543 31 ธันวาคม2542
บาท บาท บาท บาท
หนี้สินที่เกิดจากภาระค้ำประกัน
บริษัท ผาแดงพุงซาน เมททัลส์ จำกัด - - 154,357,587 174,357,587
…/20
- 20 -
17. การดำเนินงานของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง
เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2542 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท ผาแดง พุงซาน เมททัลส์ จำกัด ได้มีมติให้บริษัทหยุดดำเนินงาน และบันทึกลดมูลค่าสินทรัพย
บางส่วนของบริษัทให้เป็นราคาที่คาดว่าจะขายได้ในงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2541 โดยตีราคาตามราคาประเมินของผู้ประเมินราคาอิสระ
ซึ่งได้ทำการประเมินราคาอาคารโรงงาน ส่วนปรับปรุงที่ดิน เครื่องจักรและอุปกรณ์ของบริษัทย่อยที่การนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง
การประเมินราคาไม่รวมที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างที่หมู่บ้านปัญญา จังหวัดชลบุรี เฟอร์นิเจอร์และสิ่งตรึงตรา อุปกรณ์สำนักงาน และสินค้าคงเหลือซึ่งได้แก่ วัสดุสิ้น
เปลือง อะไหล่ เศษซาก และงานระหว่างทำ ตามความคิดเห็นของผู้ประเมินราคาเห็นว่า ราคาที่เหมาะสมที่สุดในการประเมินราคายุติธรรมของบริษัทย่อยคือ
การประเมินราคาสุทธิของสินทรัพย์ที่คาดว่าจะขายได้โดยมีการต่อรองกันเป็นรายชิ้น ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพและสถานที่ของสินทรัพย์ไม่ว่าจะขายทั้งหมดหรือแยกขาย
เป็นชิ้น
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เลิกใช้งานและรอการขายของบริษัท ผาแดง พุงซาน เมททัลส์ จำกัด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2543 และ 31 ธันวาคม 2542 ภายใต้
หัวข้อทรัพย์สินรอการจำหน่าย ในงบดุลรวม ดังนี้
31 มีนาคม 2543 31 ธันวาคม 2542
ราคาตามบัญชี ราคาตามบัญชี
ส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารโรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ์ 111,000,004 111,000,004
ที่ดินและอาคารอื่น 12,500,000 12,500,000
รวม บาท 123,500,004 123,500,004
สำหรับไตรมาสสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2543 และ 2542 ผลการดำเนินงานของบริษัทย่อยดังกล่าวประกอบด้วย
31 มีนาคม 2543 31 มีนาคม 2542
รายได้
รายได้จากการขาย 9,298,400 25,161,057
รายได้อื่น 1,963,146 121,211
รวมรายได้ 11,261,546 25,282,268
…/21
- 21 -
31 มีนาคม 2543 31 มีนาคม 2542
ค่าใช้จ่าย
ต้นทุนขาย 623,867 18,051,864
ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร 8,650,752 17,633,214
รวมค่าใช้จ่าย 9,274,619 35,685,078
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท 1,986,927 (10,402,810)
18. ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน
ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน สำหรับไตรมาสสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2543
ขายในประเทศ ขายต่างประเทศ งบการเงินรวม
ขายสุทธิ 943,405,375 263,376,047 1,206,781,422
ต้นทุนขาย 708,616,026 228,367,457 936,983,483
กำไรขั้นต้น บาท 234,789,349 35,008,590 269,797,939
ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน สำหรับไตรมาสสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2542
ขายในประเทศ ขายต่างประเทศ งบการเงินรวม
ขายสุทธิ 716,566,705 323,913,509 1,040,480,214
ต้นทุนขาย 567,671,003 292,407,878 860,078,881
กำไรขั้นต้น บาท 148,895,702 31,505,631 180,401,333
19. ปัญหาปี ค.ศ. 2000 (ไม่ได้สอบทาน - ไม่รวมอยู่ในรายงานการสอบทานโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาต)
บริษัทและบริษัทย่อยได้ทำการแก้ไขปรับปรุงระบบคอมพิวเตอร์เพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับปี ค.ศ. 2000 และได้ประเมินผลจากเรื่องดังกล่าวแล้ว
ซึ่งจนถึงปัจจุบันไม่พบว่ามีผลกระทบอย่างมีสาระสำคัญต่อการดำเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย